วันจันทร์ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2559

interrogation1

interrogation1

การเลี้ยงเป็ดไข่เพื่อผลิตเป็ดไข่จำหน่าย

1.         เหตุผลและความเหมาะสม

            เป็ดไข่เป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย ทนทานต่อโรค

สามารถใช้วัสดุท้องถิ่นหรือวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเป็นอาหารได้ ประชาชนนิยมบริโภคไข่เป็ด

นอกจากนี้ไข่เป็ดสามารถนำไปประกอบอาหารและทำขนมได้หลายชนิด

เหมาะสำหรับการนำไปแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า อาทิ การทำไข่เค็ม เป็นต้น


           2.         เงื่อนไขความสำเร็จ



1.       พื้นที่เลี้ยงควรอยู่ใกล้แหล่งน้ำตามธรรมชาติ ห่างไกลจากชุมชน

2.       ต้องมีแหล่งอาหารตามธรรมชาติ หรือมีวัสดุ เหลือจากระบบการเกษตร

หรือผลพลอยได้จากโรงงาน

3.       ต้องมีตลาดรับซื้อไข่เป็ดอย่างชัดเจน และระยะยาว

                                                                                               
      4.       ต้องมีความรู้และประสบการณ์ในการแปรรูปไข่เป็ดเพื่อเพิ่มมูลค่าในการณีมีปัญหาด้านราคาและการตลาด

 
3.    เทคโนโลยี และกระบวนการผลิต

3.1       พันธุ์เป็ดจะนิยมใช้เป็ดไข่ พันธุ์กากีแคมป์เบลล์ หรือลูกผสม
ควรหาพันธุ์ซื้อจากฟาร์มผลิตภัณฑ์ที่ได้รับความเชื่อถือไว้ใจได้ และไม่เคยมีโรคระบาดมาก่อน

3.2   การจัดการเลี้ยงดูควรเริ่มด้วยการเลี้ยงเป็ดสาวอายุประมาณ 18 – 20 สัปดาห์ลักษณะโรงเรือนเลี้ยงเป็ดควรทำจากวัสดุที่หาได้ง่ายหรือมีในท้องถิ่นโรงเรือนควรตั้งอยู่ในแนวทิศ

ตะวันออก – ตก ต้องสามารถกันแดดกันฝนได้ และมีลานปล่อยอยู่ด้านนอก

เพื่อปล่อยให้เป็ดออกหาอาหารตามธรรมชาติกินและได้ออกกำลังกาย พื้นที่โรงเรือนเลี้ยงเป็ด ขนาด 1

ตารางเมตร จะเลี้ยงเป็ดไข่ได้ 5 ตัว เป็ดจะเริ่มไข่เมื่ออายุ 21 สัปดาห์

ในระยะนี้เป็ดต้องการอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงมีโปรตีนประมาณ 18 เปอร์เซ็นต์

ให้เป็ดกินอาหารอย่างเต็มที่ โดยเฉลี่ยประมาณ 150 กรัมต่อตัวต่อวัน

ต้องทำความสะอาดที่ให้น้ำก่อนทุกครั้ง และต้องมีน้ำให้เป็ดได้กินตลอดเวลา

การเลี้ยงในช่วงเป็ดกำลังไข่ต้องพิถีพิถันระมัดระวังเป็นอย่างมากเพราะถ้าเป็ดตกใจหรือได้รับความเครียดจ

ะทำให้ผลผลิตน้อยลง อาหารสำหรับเลี้ยงเป็ด โดยทั่วไปจะนิยมอาหารสำเร็จรูปที่มีขายในท้องตลาดทั่วไป

หรืออาจนำเอาวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นมาผสมใช้เองตามสูตร

ในการผสมใช้เองเกษตรกรจะต้องหลีกเลี่ยงการใช้ข้าวโพดเป็นอาหารสัตว์

ถ้าจะใช้ผสมเป็นอาหารใช้ในปริมาณน้อยและต้องแน่ใจว่าเป็นข้าวโพดคุณภาพดีปราศจากเชื้อรา

เนื่องจากเชื้อราจะสร้างสารพิษที่เป็นอันตรายกับเป็ด ทั้งนี้

ควรนำอาหารธรรมชาติหรือเศษเหลือจากอาชีพการเกษตร เช่น แหน ผัก หอยเชอรี่

หรือผลพลอยได้จากโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร มาใช้ประโยชน์เพื่อลดต้นทุนการผลิต

และมีการคมนาคมสะดวก

DetailFinal1


DetailFionl1
การให้อาหารลูกเป็ดควรให้กินคราวละน้อย ๆ ในตอนแรก ๆ เมื่อลูกเป็ดกินอาหารเก่งแล้วให้อาหารทุก 2-3 ชั่วโมง และต่อไปลดลงให้วันละ 3 ครั้ง ให้มากพอที่ลูกเป็ดจะกินได้เกือบตลอดเวลาเมื่ออายุได้ 1 อาทิตย์ แต่อย่าให้จนเหลือ และต้องคอยดูความสะอาดอย่าให้เศษดินและสิ่งสกปรกลงไปในอาหาร หรือมดขึ้น
การเลี้ยงดูเป็ดไข่ 
1. การย้ายเป็ดสาวที่จะเข้าเลี้ยงในคอกเป็ดไข่ ควรย้ายก่อนที่เป็ดจะเริ่มไข่ประมาณ 2-3 อาทิตย์ เพื่อให้เป็ดเคยชินกับคอกใหม่
2. การให้น้ำเป็ดไข่ควรมีน้ำสะอาด ให้กินตลอดเวลา ที่ให้น้ำควรทำเป็นลานคอนกรีต ป้องกันพื้นคอก ชื้นแฉะ เพราะเป็ดเวลากินน้ำชอบใช้ทำให้พื้นคอกเปียก ที่ให้น้ำควรมีที่รองพื้นและมีที่ระบายน้ำได้ดี
3. การให้อาหาร ถ้าเลี้ยงแบบในน้ำหรือลำคลองเป็ดสามารถหาลูกกุ้ง ลูกปลา และหอยเล็ก ๆ กินได้ ก็ให้อาหารพวก รำหยาบ รำละเอียด ปลายข้าว หรือข้าวเปลือกผสมให้กิน
หรือถ้าอยู่ในแหล่งที่มีปลาเป็ด ใช้ปลาเป็ดต้มหรือสับหรือบดผสมกับรำหยาบ รำละเอียด ปลายข้าวหรือ ข้าวโพดให้กิน หรืออาจจะให้อาหารผสมตามสูตรที่ให้มาก็ได้ หรือซื้อหัวอาหารเป็ดมาผสมกับพวกรำ ปลายข้าว ข้าวโพด ให้เป็ดไข่กินก็ได้เช่นกัน แล้วแต่ผู้ที่จะเลี้ยง
4. การให้แสงสว่าง ในระยะเป็ดไข่ ควรให้แสงสว่างวันละ 16-18 ชั่วโมง เพื่อช่วยในการทำให้เป็ดไข่ดีขึ้น โดยใช้แสงไฟนีออนหรือหลอดไฟธรรมดา หรือใช้แสงสว่างตามธรรมชาติประมาณ 12 ชั่วโมง แล้วตอนหัวค่ำเปิด แสงไฟนีออนประมาณ 2 ชั่วโมง และเช้ามืดเปิดอีก 2-3 ชั่วโมง หลอดไฟแสงสว่างควรติดสูงจากพื้นดินประมาณ 2.4 เมตร หรือ 8 ฟุต ควรแขวนหลอดไฟให้กระจายทั่วคอก
5. ควรมีรังไข่ ขนาดกว้าง 12 x 14 นิ้ว สูง 12 นิ้ว ด้านบนและด้านหน้าเปิด ใช้ฟางหรือแกลบรองพื้น รังไข่ ใช้อัตรา 1 รังต่อเป็ด 3-5 ตัว

โรคเป็ด

โรคเป็ด
โรคเพล็ก 
-  สาเหตุ  เกิดจากเชื้อไวรัส
อาการ  เป็ดจะแสดงอาการขาอ่อน นอนหมอบ ตัวสั่น ต่อมาไม่ช้าจะเกิดอาการอัมพาต เป็ดกระหายน้ำจัด บางทีมีน้ำลาย เหนียว ๆ ไหลออกจากปาก ตาแฉะ จมูกสกปรก หายใจมีเสียงครืดคราด ท้องเดิน อุจจาระสีขาว และจะตายภายใน 24 ชั่วโมง ระยะฟักตัวของโรคตั้งแต่ต้นจนแสดงอาการเหล่านี้ประมาณ 1 สัปดาห์ 
                                                                                       การให้วัคซีนในเป็ด
วัคซีน  duck plague
-  คุณลักษณะของวัคซีน
เป็นวัคซีนที่ผลิตจากเชื้อไวรัสเชื้อเป็น สเตรนแจนเซ่น สำหรับทำวัคซีนในเป็ด ไม่ทำให้เป็ดเป็นโรค แต่สามารถทำให้เกิดความคุ้มโรคกาฬโรคเป็ดได้เป็นอย่างดี วัคซีนกาฬโรคเป็ด เป็นวัคซีนแห้งบรรจุในขวดสูญญากาศ
- วิธีการใช้และขนาดของวัคซีน
ละลายวัคซีนด้วยน้ำยาละลาย เขย่าให้ละลายให้หมด แล้วใช้ทันที ควรแช่ในน้ำแข็ง และใช้ภายใน 2 ชั่วโมง ห้ามเก็บวัคซีนที่เหลือไว้ใช้ในคราวต่อไป
-  วิธีการฉีด  
       ฉีดวัคซีนเข้าใต้ผิวหนัง (คอ) หรือฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (ที่อก) ตัวละ 0.5 ซีซี ต่อตัว
- โปรแกรมวัคซีน
                ฉีดวัคซีนเมื่อเป็ดอายุได้  21 วัน
- ข้อควรระวัง
                อย่าทำวัคซีนในช่วงเป็ดผลัดขน เพราะจะได้ภูมิคุ้มกันโรคที่ต่ำ
-  การเก็บรักษาวัคซีน
วัคซีนผงแห้งควรเก็บไว้ในตู้เย็นช่องธรรมดา อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียล หรือในกระติกน้ำแข็ง

วันจันทร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2559

สิ่งที่ประทับใจในรั่วมหาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด



      สิ่งที่ประทับใจในรั่วมหาลัยของผมก็คือ ศูนย์วิทยบริการ
ซึ่งเป็นสถานที่ที่ให้ความรู้ และให้เป็นที่ทำงานในคาบว่างๆของเรา เเละเป็นศูนย์กลางของความรู้ต่างนาๆทั้งหมด 


และที่สำคัญเป็นที่พักผ่อนภายในตัวด้วย ในเวลาที่เครียดกับการเรียนเราก็สามารถมานั่งเอาอะไนเล่นๆก็ได้ หรือ นั่งเล่นเกมส์ในมือถือตัวเองก็ได้




แล้วก็มีคอมให้เราได้เล่นได้ศึกษาด้วย และได้มีที่นั่งเย็นๆตากแอร์ ในเวลาที่เราร้อนด้วย และนี่คือสถานที่ที่ผมประทับใจในรั่วมหาลัยคับ ขอบคุณคับ






วันพุธที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2559

การเลี้ยงดูเป็ด




การให้อาหารลูกเป็ดควรให้กินคราวละน้อย ๆ ในตอนแรก ๆ เมื่อลูกเป็ดกินอาหารเก่งแล้วให้อาหารทุก 2-3 ชั่วโมง และต่อไปลดลงให้วันละ 3 ครั้ง ให้มากพอที่ลูกเป็ดจะกินได้เกือบตลอดเวลาเมื่ออายุได้ 1 อาทิตย์ แต่อย่าให้จนเหลือ และต้องคอยดูความสะอาดอย่าให้เศษดินและสิ่งสกปรกลงไปในอาหาร หรือมดขึ้น



การเลี้ยงดูเป็ดไข่ 
1. การย้ายเป็ดสาวที่จะเข้าเลี้ยงในคอกเป็ดไข่ ควรย้ายก่อนที่เป็ดจะเริ่มไข่ประมาณ 2-3 อาทิตย์ เพื่อให้เป็ดเคยชินกับคอกใหม่

2. การให้น้ำเป็ดไข่ควรมีน้ำสะอาด ให้กินตลอดเวลา ที่ให้น้ำควรทำเป็นลานคอนกรีต ป้องกันพื้นคอก ชื้นแฉะ เพราะเป็ดเวลากินน้ำชอบใช้ทำให้พื้นคอกเปียก ที่ให้น้ำควรมีที่รองพื้นและมีที่ระบายน้ำได้ดี

3. การให้อาหาร ถ้าเลี้ยงแบบในน้ำหรือลำคลองเป็ดสามารถหาลูกกุ้ง ลูกปลา และหอยเล็ก ๆ กินได้ ก็ให้อาหารพวก รำหยาบ รำละเอียด ปลายข้าว หรือข้าวเปลือกผสมให้กิน
หรือถ้าอยู่ในแหล่งที่มีปลาเป็ด ใช้ปลาเป็ดต้มหรือสับหรือบดผสมกับรำหยาบ รำละเอียด ปลายข้าวหรือ ข้าวโพดให้กิน หรืออาจจะให้อาหารผสมตามสูตรที่ให้มาก็ได้ หรือซื้อหัวอาหารเป็ดมาผสมกับพวกรำ ปลายข้าว ข้าวโพด ให้เป็ดไข่กินก็ได้เช่นกัน แล้วแต่ผู้ที่จะเลี้ยง

4. การให้แสงสว่าง ในระยะเป็ดไข่ ควรให้แสงสว่างวันละ 16-18 ชั่วโมง เพื่อช่วยในการทำให้เป็ดไข่ดีขึ้น โดยใช้แสงไฟนีออนหรือหลอดไฟธรรมดา หรือใช้แสงสว่างตามธรรมชาติประมาณ 12 ชั่วโมง แล้วตอนหัวค่ำเปิด แสงไฟนีออนประมาณ 2 ชั่วโมง และเช้ามืดเปิดอีก 2-3 ชั่วโมง หลอดไฟแสงสว่างควรติดสูงจากพื้นดินประมาณ 2.4 เมตร หรือ 8 ฟุต ควรแขวนหลอดไฟให้กระจายทั่วคอก

5. ควรมีรังไข่ ขนาดกว้าง 12 x 14 นิ้ว สูง 12 นิ้ว ด้านบนและด้านหน้าเปิด ใช้ฟางหรือแกลบรองพื้น รังไข่ ใช้อัตรา 1 รังต่อเป็ด 3-5 ตัว

โรคเป็ด

โรคเป็ด

โรคเพล็ก 
-  สาเหตุ  เกิดจากเชื้อไวรัส
อาการ  เป็ดจะแสดงอาการขาอ่อน นอนหมอบ ตัวสั่น ต่อมาไม่ช้าจะเกิดอาการอัมพาต เป็ดกระหายน้ำจัด บางทีมีน้ำลาย เหนียว ๆ ไหลออกจากปาก ตาแฉะ จมูกสกปรก หายใจมีเสียงครืดคราด ท้องเดิน อุจจาระสีขาว และจะตายภายใน 24 ชั่วโมง ระยะฟักตัวของโรคตั้งแต่ต้นจนแสดงอาการเหล่านี้ประมาณ 1 สัปดาห์ 

                                                                                       การให้วัคซีนในเป็ด
วัคซีน  duck plague
-  คุณลักษณะของวัคซีน
เป็นวัคซีนที่ผลิตจากเชื้อไวรัสเชื้อเป็น สเตรนแจนเซ่น สำหรับทำวัคซีนในเป็ด ไม่ทำให้เป็ดเป็นโรค แต่สามารถทำให้เกิดความคุ้มโรคกาฬโรคเป็ดได้เป็นอย่างดี วัคซีนกาฬโรคเป็ด เป็นวัคซีนแห้งบรรจุในขวดสูญญากาศ
- วิธีการใช้และขนาดของวัคซีน
ละลายวัคซีนด้วยน้ำยาละลาย เขย่าให้ละลายให้หมด แล้วใช้ทันที ควรแช่ในน้ำแข็ง และใช้ภายใน 2 ชั่วโมง ห้ามเก็บวัคซีนที่เหลือไว้ใช้ในคราวต่อไป
-  วิธีการฉีด  
       ฉีดวัคซีนเข้าใต้ผิวหนัง (คอ) หรือฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (ที่อก) ตัวละ 0.5 ซีซี ต่อตัว
- โปรแกรมวัคซีน
                ฉีดวัคซีนเมื่อเป็ดอายุได้  21 วัน
- ข้อควรระวัง
                อย่าทำวัคซีนในช่วงเป็ดผลัดขน เพราะจะได้ภูมิคุ้มกันโรคที่ต่ำ
-  การเก็บรักษาวัคซีน
วัคซีนผงแห้งควรเก็บไว้ในตู้เย็นช่องธรรมดา อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียล หรือในกระติกน้ำแข็ง


การเลี้ยงเป็ดไข่เพื่อผลิตเป็ดไข่จำหน่าย

การเลี้ยงเป็ดไข่เพื่อผลิตเป็ดไข่จำหน่าย

1.         เหตุผลและความเหมาะสม

            เป็ดไข่เป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย ทนทานต่อโรค

สามารถใช้วัสดุท้องถิ่นหรือวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเป็นอาหารได้ ประชาชนนิยมบริโภคไข่เป็ด

นอกจากนี้ไข่เป็ดสามารถนำไปประกอบอาหารและทำขนมได้หลายชนิด

เหมาะสำหรับการนำไปแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า อาทิ การทำไข่เค็ม เป็นต้น


           2.         เงื่อนไขความสำเร็จ



1.       พื้นที่เลี้ยงควรอยู่ใกล้แหล่งน้ำตามธรรมชาติ ห่างไกลจากชุมชน

2.       ต้องมีแหล่งอาหารตามธรรมชาติ หรือมีวัสดุ เหลือจากระบบการเกษตร

หรือผลพลอยได้จากโรงงาน

3.       ต้องมีตลาดรับซื้อไข่เป็ดอย่างชัดเจน และระยะยาว

                                                                                               
      4.       ต้องมีความรู้และประสบการณ์ในการแปรรูปไข่เป็ดเพื่อเพิ่มมูลค่าในการณีมีปัญหาด้านราคาและการตลาด

 
3.    เทคโนโลยี และกระบวนการผลิต

3.1       พันธุ์เป็ดจะนิยมใช้เป็ดไข่ พันธุ์กากีแคมป์เบลล์ หรือลูกผสม
ควรหาพันธุ์ซื้อจากฟาร์มผลิตภัณฑ์ที่ได้รับความเชื่อถือไว้ใจได้ และไม่เคยมีโรคระบาดมาก่อน

3.2   การจัดการเลี้ยงดูควรเริ่มด้วยการเลี้ยงเป็ดสาวอายุประมาณ 18 – 20 สัปดาห์ลักษณะโรงเรือนเลี้ยงเป็ดควรทำจากวัสดุที่หาได้ง่ายหรือมีในท้องถิ่นโรงเรือนควรตั้งอยู่ในแนวทิศ

ตะวันออก – ตก ต้องสามารถกันแดดกันฝนได้ และมีลานปล่อยอยู่ด้านนอก

เพื่อปล่อยให้เป็ดออกหาอาหารตามธรรมชาติกินและได้ออกกำลังกาย พื้นที่โรงเรือนเลี้ยงเป็ด ขนาด 1

ตารางเมตร จะเลี้ยงเป็ดไข่ได้ 5 ตัว เป็ดจะเริ่มไข่เมื่ออายุ 21 สัปดาห์

ในระยะนี้เป็ดต้องการอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงมีโปรตีนประมาณ 18 เปอร์เซ็นต์

ให้เป็ดกินอาหารอย่างเต็มที่ โดยเฉลี่ยประมาณ 150 กรัมต่อตัวต่อวัน

ต้องทำความสะอาดที่ให้น้ำก่อนทุกครั้ง และต้องมีน้ำให้เป็ดได้กินตลอดเวลา

การเลี้ยงในช่วงเป็ดกำลังไข่ต้องพิถีพิถันระมัดระวังเป็นอย่างมากเพราะถ้าเป็ดตกใจหรือได้รับความเครียดจ

ะทำให้ผลผลิตน้อยลง อาหารสำหรับเลี้ยงเป็ด โดยทั่วไปจะนิยมอาหารสำเร็จรูปที่มีขายในท้องตลาดทั่วไป

หรืออาจนำเอาวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นมาผสมใช้เองตามสูตร

ในการผสมใช้เองเกษตรกรจะต้องหลีกเลี่ยงการใช้ข้าวโพดเป็นอาหารสัตว์

ถ้าจะใช้ผสมเป็นอาหารใช้ในปริมาณน้อยและต้องแน่ใจว่าเป็นข้าวโพดคุณภาพดีปราศจากเชื้อรา

เนื่องจากเชื้อราจะสร้างสารพิษที่เป็นอันตรายกับเป็ด ทั้งนี้

ควรนำอาหารธรรมชาติหรือเศษเหลือจากอาชีพการเกษตร เช่น แหน ผัก หอยเชอรี่

หรือผลพลอยได้จากโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร มาใช้ประโยชน์เพื่อลดต้นทุนการผลิต

และมีการคมนาคมสะดวก